
Classical Econometrics


“โจรสลัด” มีที่มาอย่างไร?
การโจมตีของโจรสลัดเป็นเรื่องที่เราคุ้ยเคยกันดี แต่ก็เฉพาะในภาพยนตร์เท่านั้น แล้วในความจริง การโจมตีของโจรสลัดมีมากน้อยเพียงใด ที่ไหน ได้อะไรไปบ้าง รวมทั้งอะไรที่ทำให้คนเหล่านี้เลือกเป็นโจรสลัด เศรษฐศาสตร์จะลองตอบคำถามเหล่านี้ดู
“ขึ้นสวรรค์” หรือ “ลงนรก” มีผลกับอาชญากรรมอย่างไร?
“ทำความดี ละเว้นความชั่ว” เป็นแกนกลางของคำสอนในทุกศาสนา แล้ว “ทำความดี” กับ “ละเว้นความชั่ว” มันจะมีผลเหมือนกันหรือไม่กับจำนวนอาชญากรรมที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบความน่าสนใจว่า ขณะที่คำสอนเรื่องความชั่วทำให้จำนวนอาชญากรรมลดลง แต่คำสอนเรื่องความดีกลับจะทำให้อาชญากรรมเพิ่มสูงขึ้น
“เมียฝรั่ง” มีผลแค่ไหนต่อเศรษฐกิจอีสาน?
การแต่งงานกับชาวต่างชาติของหญิงไทยนั้นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นที่น่าสนใจว่าผลกระทบทางเศรษฐกิจของการแต่งงานดังกล่าวนั้นมีมูลค่าสูงเพียงใด และสาขาการผลิตอะไรบ้างที่ได้รับผลดีดังกล่าว ตารางปัจจัยการผลิต-ผลผลิตจะช่วยตอบคำถามที่น่าสนใจนี้ให้เรา
นักการเมืองจะตอบ“อีเมล์”กันไหม…หนอ?
อีเมล์เป็นหนึ่งในเครื่องมือสื่อสารที่เข้าถึงนักการเมืองโดยตรง และเชื่อว่านักการเมืองทุกคนมีอีเมล์แน่ๆ (อย่างน้อยก็ในนามบัตร) แต่เคยสงสัยกันไหมว่า หากติดต่อพวกเขาด้วยช่องทางนี้จริงๆ เขาจะตอบเราหรือไม่
เนื้อคู่แบบไหนอยู่กัน“ไม่ยืด”?
เนื่องในวันแห่งความรัก [เสด-ถะ-สาด].com ขอเสนอบทความที่เกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกเนื้อคู่ที่เหมาะกับเรา เพื่อให้มีโอกาสหย่าร้างหลังแต่งงานน้อยที่สุด และในการใช้ชีวิตร่วมกันให้รอด แต่ละคู่อาจจะต้องผ่านมรสุมครั้งใหญ่ประมาณสองครั้ง ซึ่งเกือบทุกคู่ก็ไม่ต่างจากเราทุกคน ถนอมความรักกันให้ดีนะครับ
ทำไมน้อง“ไม่”แต่งงาน?
การแต่งงานก่อให้เกิดผลดีกับทั้งชายและหญิง เพราะเป็นการแลกเปลี่ยนความเชี่ยวชาญระหว่างกัน แต่ทำไมในปัจจุบันเรากลับเห็นคนที่ไม่แต่งงานทั้งโดยสมัครใจและไม่สมัครใจมากขึ้น ปัจจัยอะไรที่ทำให้พวกเขาเลือกจะเป็นโสด และเขาตัดสินใจกันจริงๆ จังๆ ตอนอายุเท่าไหร่กัน
“โครงสร้างรัฐบาล”แบบไหนจูงใจให้เกิดรัฐประหาร?
กองทัพจะตัดสินใจก่อรัฐประหารหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับโอกาสชนะกับผลได้หลังการรัฐประหาร ภายใต้โครงสร้างรัฐบาลที่รวมศูนย์อำนาจ โอกาสชนะของกองทัพจะต่ำ แต่ผลได้จะสูง แต่ในรัฐบาลที่กระจายอำนาจ โอกาสชนะของกองทัพจะสูง แต่ผลได้จะต่ำ ซึ่งการชั่งน้ำหนักจึงเป็นแกนหลักในการตัดสินใจของกองทัพ
ทำไม“ผู้หญิงสวย”จึงมักลงเอยกับ“ผู้ชายไม่หล่อ”?
ความเป็นจริงของชีวิตที่เราพบเห็นกันทั่วไปที่ผู้หญิงสวยมักลงเอยกับผู้ชายไม่หล่อ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้สามารถอธิบายได้ในทางเศรษฐศาสตร์ และมันยังทำให้เรารู้ว่า หากเราอยากมีความสุขในการแต่งงาน เราควรหาคู่ครองที่มีหน้าตาระดับไหนเมื่อเทียบกับตัวเราเอง
“การบ้าน” ทำให้เด็กฉลาดขึ้นหรือไม่?
การบ้านเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับการศึกษาในโรงเรียนมาเนิ่นนาน แต่เคยสงสัยกันไหมว่าการบ้านมีผลช่วยให้เด็กๆ ฉลาดขึ้นหรือไม่ มีวินัยมากขึ้นหรือไม่ รักการเรียนมากขึ้นไหม นอกจากนั้น การบ้านยังมีผลได้ที่ลดน้อยถอยลง เบียดบังเวลาเรียนรู้ด้านอื่นๆ แถมคุณครูแต่ละคนยังมี coordination failure ในการสั่งการบ้านด้วย
“วัยรุ่นใช้แบรนด์หรู”…เป็นเรื่องปกติหรือไม่?
กระเป๋าราคาแพงที่เห็นคนใช้กันเกลื่อนในประเทศไทย เกิดจากความฟุ้งเฟ้อของคนไทยมากกว่าที่ควรจะเป็น หรือเป็นเพียงพัฒนาการขั้นหนึ่งทางการตลาดของสินค้าแบรนด์หรูเหล่านี้ที่ต้องการให้สังคมเป็นไป และมันก็เป็นไปเช่นเดียวกันในหลายๆ ประเทศด้วย บทความนี้มีมุมหนึ่งให้ลองพิจารณากัน
เรามี“เพื่อน”ได้มากที่สุด…กี่คน?
Dunbar’s Number คือตัวเลขจำนวนเพื่อนที่สมองส่วนหน้าของมนุษย์จะสามารถจำรายละเอียดได้ ซึ่งก็คือ 150 คน และก็เป็นตัวเลขเดียวกับจำนวนคนเฉลี่ยของแต่ละกลุ่มในประวัติศาสตร์ ซึ่งมาจากผลได้และต้นทุนของการรวมกลุ่ม บทความนี้จะชี้ให้เห็นมิติที่สอดคล้องกันดังกล่าว
“เสรีภาพทางการเมือง” หรือ “เสรีภาพทางเศรษฐกิจ” อะไรควรมาก่อนกัน?
เสรีภาพทางการเมือง และ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ ต่างก็เป็นสิ่งที่ดีทั้งคู่ ประเทศที่พัฒนาแล้วย่อมประกอบด้วยเสรีภาพทั้งสองด้าน บทความชิ้นหนึ่งชี้ให้เห็นว่า ลำดับของการเปิดเสรีในแต่ละด้านก่อนหลังนั้น มีผลทำให้การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศนั้นแตกต่างกันมากทีเดียว
“ราคาไข่” เป็นตัวแทนของค่าครองชีพได้หรือไม่?
เป็นเวลานานแล้วที่ “ราคาไข่” เป็นเครื่องชี้วัดความสามารถในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของรัฐบาลแต่ละยุคแต่ละสมัย แต่เคยตั้งคำถามกันไหมว่า มันเป็นเครื่องมือชี้วัดที่ดีหรือไม่ เพราะถ้ามันทำได้ไม่ดีพอ จะเท่ากับว่าเราไปลงโทษหรือให้คุณรัฐบาลที่ผิดฝาผิดตัวกันเลยทีเดียว