
Blog


ถ้าประชากรมี“อายุยืนขึ้น” ประเทศจะรวยขึ้นหรือไม่?
ประเทศที่ร่ำรวย ประชากรจะมีอายุยืนยาว เพราะมีคุณภาพชีวิตที่ดี แล้วในทางกลับกัน การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นจะทำให้พวกเขาจะรวยขึ้นหรือไม่ Acemoglu and Johnson (2007) ตอบว่าไม่ และ Cervellati and Sunde (2011) เสริมว่าขึ้นอยู่กับขั้นการเปลี่ยนแปลงโคงสร้างประชากรของแต่ละประเทศ
อะไรคือ “ราคา”ของการ(ไม่ถูก)ยึดอำนาจ?
การปฏิวัติเป็นเรื่องที่พบเห็นกันบ่อยครั้งทั่วโลก แต่การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้ยังมีน้อยมาก โดยเฉพาะหากเทียบกับทางรัฐศาสตร์ Leon (2012) ได้ชี้ให้เห็นความสำคัญของงบประมาณทางการทหารของทั่วโลกที่มีผลต่อการเกิดการปฏิวัติในประเทศนั้นๆ
แบ่ง“มรดก”อย่างไรไม่ให้ทะเลาะกัน?
การแบ่งมรดกเป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้พี่น้องต้องมาทะเลาะกัน ปัญหาอาจไม่ได้อยู่ที่ความโลภ แต่อยู่ที่ความไม่เป็นธรรม อันเนื่องจากผู้จัดการมรดกและผู้รับมรดกเป็นคนเดียวกัน อีกทั้งการหามูลค่าที่เท่ากันของมรดกหลายประเภทผสมกันนั้นอาจทำได้ยาก เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์จะมาช่วยแบ่งให้เท่าเทียมกันและพอใจกันทุกฝ่ายได้
“มือที่สาม”เข้ามาแทรกได้อย่างไร?
ในปัจจุบัน หันไปมองทางไหน ทุกคนก็มีแฟนหมดแล้ว โดยเฉพาะถึงขั้นพูดกันว่าคนดีดีก็คงมีแฟนกันหมดแล้ว แต่เชื่อไหมว่าต่อให้เขาคนนั้นมีแฟนแล้ว แต่เหตุการณ์มือที่สามก็ไม่วายมีโอกาสเกิดขึ้นได้ บทความนี้มีเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ว่า ทำไมรักสามเส้าจึงเกิดขึ้น และเราจะไม่ให้มันเกิดขึ้นได้อย่างไร
“Design by APPLE in California, Assembled in China” สหรัฐฯ ได้หรือขาดดุลการค้ากับจีนกันแน่?
สินค้าที่ประเทศหนึ่งเป็นเจ้าของ แต่ผลิตหรือประกอบที่ประเทศอื่น จะส่งผลอย่างไรต่อดุลการค้าหรือทั้งระบบเศรษฐกิจ กรณีของ iPhone เป็นตัวอย่างที่ดีต่อการตอบคำถามนี้ รวมไปถึงนโยบายที่ควรจะเป็น ผลประโยชน์ของประเทศ และแรงกดดันต่ออัตราแลกเปลี่ยนของจีน
จะเป็น “นักวิชาการที่ทรงอิทธิพล” ได้อย่างไร?
การเป็นนักวิชาการที่ทรงอิทธิพลนั้นเกิดจากการตีพิมพ์เอกสารในวารสารวิชาการให้มีผู้อ้างอิงมากเข้าไว้ เพราะเท่ากับได้รับการยอมรับจากนักวิชาการคนอื่นจำนวนมาก แต่เคยคิดไหมว่า หากมีจำนวนการอ้างอิงที่เท่ากัน การตีพิมพ์ในเอกสารน้อยชิ้นแต่ถูกอ้างอิงมากๆ กับการตีพิมพ์เอกสารมากชิ้น แต่ถูกอ้างอิงน้อย เหมือนกันหรือไม่
“ข้อคิด ๑๐ ประการของการมีแฟน” โดยนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล
ปี 2010 รางวัลโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ถูกมอบให้กับ DMP Model เกี่ยวกับการค้นหาคู่ที่เหมาะสมระหว่างแรงงานกับนายจ้าง ซึ่งต้องอาศัยทั้งความพยายามและเวลา หากนำเอาแนวคิดนี้มาประยุกต์กับการหาแฟน ลองมาดูกันว่า เราจะเรียนรู้อะไรได้บ้าง
ประชาธิปไตยเป็น“สินค้าปกติ”หรือไม่?
เราเชื่อกันว่าเมื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสูงขึ้น ความเป็นประชาธิปไตยก็จะสูงขึ้นตามมา ความเชื่อนี้ไม่ได้ผิด เพียงแต่ประเทศที่ว่านั้น ต้องเป็นประชาธิปไตยแล้ว แต่หากว่าประเทศนั้นๆ ยังไม่เป็นประชาธปไตยล่ะ เมื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสูงขึ้น แล้วระดับประชาธิปไตยจะสูงขึ้นจริงหรือ
“ไก่ กับ ไข่” อะไร(น่าจะ)เกิดก่อนกัน?
คำถามโลกแตกที่ถามกันมาเป็นเวลานาน แม้ว่าจะยังหาคำตอบที่แน่ชัดไม่ได้ แต่แนวคิดของ Granger นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี 2003 จะให้แนวทางในการหาคำตอบกับเรา ถึงวิธีพิจารณาว่าไก่กับไข่ อะไร(น่าจะ)เกิดก่อนกัน
ทำไมต้อง“ล่าแม่มด”?
การล่าแม่มดเป็นพิธีกรรมหนึ่งของยุโรปในสมัยก่อน เชื่อไหมว่าตอนนี้พิธีกรรมนี้ยังดำรงอยู่ในอีกหลายพื้นที่ของแอฟริกา บทความของ Edward Miguel จะช่วยให้เรารู้ว่า อะไรคือเหตุผลและความจำเป็นทางเศรษฐศาสตร์ที่มีอยู่เบื้องหลังของพิธีกรรมนี้
ทำไมเราถึงไม่ควร“กลัวผี”?
แนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์กับการวิเคราะห์เรื่องผี ซึ่งดูไม่น่าจะเข้ากันได้ แต่ศาสตราจารย์จาก West Virginia ก็นำมาประยุกต์ได้อย่างน่าสนใจ ที่สำคัญ มันจะทำให้เราฉุกคิดว่า ที่จริงเราไม่ควรต้องกลัวผีเลยด้วยซ้ำไป
ข้อเสนอต่อการปฏิรูปการศึกษาไทยของ TDRI มี“วิธีคิด”อย่างไร?
ในบทความเรื่อง จะปฏิรูปการศึกษาไทย“ในระยะสั้น”อย่างไรดี? — บางส่วนจากข้อเสนอของ TDRI ได้นำเสนอแนวทางการปฏิรูประบบการศึกษาระยะสั้นที่ TDRI ให้ข้อสรุปสำคัญคือต้องสร้างระบบที่เน้นความรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่งบทความนี้จะนำเสนอให้ลึกลงไปในรายละเอียดว่าข้อเสนอทั้งสามประการที่ TDRI เสนอมานั้นมีที่มาอย่างไร
จะปฏิรูปการศึกษาไทย“ในระยะสั้น”อย่างไรดี? — บางส่วนจากข้อเสนอของ TDRI
กระแสการสอบ O-NET ทำให้เราตระหนักถึงคุณภาพของการศึกษาไทยที่ยังถูกพูดถึงวนเวียนในไม่กี่สาเหตุ ขาดแคลนงบประมาณ เงินเดือนครูน้อย โรงเรียนไม่ได้มาตราฐาน แต่ TDRI จะเสนอมุมมองที่ทำให้เราเห็นว่า สิ่งที่ว่ามานั้นไม่ใช่ปัญหา และทางออกของปัญหาการศึกษาไทยควรทำอย่างไร