2212255130_15f70a0d33_z

“ศีลธรรม” สำคัญอย่างไร? (ตอนที่ ๒ – กับสังคมของเรา)

Dan Ariely นักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม จะช่วยให้เรารู้ว่าศีลธรรมของแต่ละบุคคลจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างไร และสืบเนื่องไปยัง Adam Smith ที่จะบอกให้เราเข้าใจว่า ทำไมคุณธรรมของผู้นำจึงควรจะสูงกว่าคนทั่วไป
5102436162_3f6389f6061

“ศีลธรรม” สำคัญอย่างไร? (ตอนที่ ๑ – กับตัวเราเอง)

เศรษฐศาสตร์ดูจะห่างเหินจากการนำเอา “ศีลธรรม” เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์ Dan Ariely นักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม จะช่วยให้เรารู้ว่าทั้งโอกาสที่จะถูกจับได้ และผลได้จากการโกงอาจไม่มีผลต่อการตัดสินใจโกงเลยก็เป็นได้
big-banana

“ความยาวของน้องชาย” สัมพันธ์กับ GDP อย่างไร?

การเติบโตทางเศรษฐกิจถือเป็นตัวเลขที่คนในทุกสังคมให้ความสนใจ ในอีกด้านหนึ่ง “ความยาวของน้องชาย” ก็เป็นตัวเลขที่คงมีคนสนใจไม่น้อยไปกว่ากัน แต่เชื่อหรือไม่ว่า แท้จริงแล้วตัวเลขสองตัวนี้มีความสัมพันธ์กัน
Mr-Nice-Guy

“เสน่หา” มีผลต่อรายได้แค่ไหนกัน? (ตอนที่ ๒ – คนแสนดี)

“เสน่หา” เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของคนส่วนใหญ่ เพราะจะทำให้เราเป็นที่สนใจ ในบทความตอนที่ ๒ นี้เกี่ยวข้องกับ “ความเป็นคนแสนดี” ที่หลายคนพยายามจะเป็นเพื่อให้ได้รับการยอมรับจากคนรอบตัว บทความวิชาการจะบอกว่ามันมีผลอย่างไรกับรายได้ของเรา
1247567813248898

“เสน่หา” มีผลต่อรายได้แค่ไหนกัน? (ตอนที่ ๑ – คนสวย/หล่อ)

“เสน่หา” เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของคนส่วนใหญ่ เพราะจะทำให้เราเป็นที่สนใจ ในบทความนี้เกี่ยวข้องกับ “ความสวย/หล่อ” ว่ามันมีข้อดีกับชีวิตเราจริงๆ จนควรให้ความสำคัญกับมัน หรือไม่ต้องไปสนใจเลยจะดีกว่า บทความวิชาการใน AER มีคำตอบให้เรา
Where-good-ideas-come-from

“ความคิดดีดี” มาจากไหน?

เรื่องราวเบาๆ ที่ถูกเรียกว่าเป็น “กรณีศึกษาอันยอดเยี่ยม” โดย Steven Johnson ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Where good ideas come from? ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมที่สุดเล่มหนึ่งของโลก นี่คือเรื่องราวความเป็นมาที่น่าทึ่งของนวัตกรรมอันหนึ่ง และมันก็เกิดขึ้นได้ในทางที่เหลือเชื่อเสียด้วย
cartoon_clock-999px

“1 นาทีของเรา ไม่เท่ากัน”…จริงหรือ?

บางครั้ง มีคนมักจะบอกเราว่า คนเรามีเวลาเท่าๆ กัน ไม่มีใครมีมากน้อยไปกว่ากัน แต่หลายครั้ง 1 นาทีของแต่ละคนในแต่ละสถานการณ์ก็มีค่าไม่เท่ากัน เศรษฐศาสตร์จะช่วยให้เราตระหนักในเรื่องการจัดสรรเวลาให้กับสังคมให้ดีขึ้นได้
t3hr00tb33r_cows

เข้าใจระบบการปกครองด้วยวัวสองตัว!!!

เรื่องราวเกี่ยวกับวัวสองตัวที่อธิบายรูปแบบความแตกต่างของการปกครองได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย เปรียบเทียบได้เห็นภาพจนต้องอมยิ้มกันเลยทีเดียว ^^
gift-for-holidays

“การให้ของขวัญ” เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจหรือไม่?

ใกล้เทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่ การให้”ของขวัญ”เป็นพิธีการหนึ่งที่เรานึกถึงและทำกันอยู่เป็นประจำ เทศกาลเหล่านี้จึงเต็มไปด้วยความสุข ความปิติยินดี และรอยยิ้มของผู้คนจำนวนมาก แต่เราเคยนึกหรือไม่ว่า จริงๆ แล้ว การให้ของขวัญก่อให้เกิดผลอย่างไรกับระบบเศรษฐกิจกันแน่?
Facebook-logo

“คนบนโลก” รู้จักกันได้ผ่านคนกี่คน?

Six degree of separation เคยบอกเราว่า คนบนโลกใบนี้ห่างกันเพียง 6 คนเท่านั้น แต่งานวิจัยชิ้นล่าสุดบอกเราว่ามันลดลงมาก ด้วยการใช้ facebook ลองมาดูกันว่าเราห่างกันเท่าไหร่ และอะไรที่สามารถทำให้เราใกล้กันไปยิ่งกว่านั้นได้อีก
aercover_Snapseed

“100 ปี American Economic Review” กับ 20 บทความที่ดีที่สุด!!!

เนื่องในวาระครบรอบ 100 ปีของวารสารวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ที่ดีที่สุดฉบับหนึ่งของโลก American Economic Review จึงได้มีการนำเสนอถึง 20 บทความที่ดีที่สุดจากบทความจำนวนมากที่เคยถูกตีพิมพ์ ต่อไปนี้คือรายชื่อและ link สำหรับการดาวน์โหลดบทความทั้งหมด
redneck-hillbilly-trucker-peeing-cartoon-caharacter-coghill

“เวลาปวดฉี่สุดๆ” การรับรู้ของเราเปลี่ยนไปอย่างไร?

เมื่อไม่นานมานี้มีการมอบรางวัล ig-Nobel ให้กับหัวข้อตามชื่อเรื่องของบทความชิ้นนี้ และเนื่องจากหัวข้อนี้เป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก [เสด-ถะ-สาด].com ขอนำมาสรุปให้ได้อ่านกันว่า เวลาที่เราปวดฉี่สุดๆ มันกระทบอย่างไรกับกระบวนการรับรู้ของเรา
tcL0kEAqSBKDCcKqD_ryMw

ภัยพิบัติของสังคม…ฤาจะเป็นลาภลอยของรัฐบาล?

สถานการณ์น้ำท่วมทำให้เราได้เห็นการร่วมแรงร่วมใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี แต่เมื่อสถานการณ์ผ่านพ้นไปแล้ว งบประมาณ(โดยชอบธรรม)อันมหาศาลของรัฐบาลจะตามมา ภัยพิบัติของสังคมจึงเปรียบเสมือนลาภลอยก้อนใหญ่ และอาจส่งผลต่อการคอรัปชั่นที่จะตามมา
cartoon_forest

บริหารจัดการ “ทรัพยากรร่วม” อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ? — รางวัลโนเบลว่าด้วยการจัดการทรัพยากรร่วม ตอนที่ ๒ (จบ)

การบริหารจัดการทรัพยากรร่วม ตอนที่ ๒ นี้จะมาดูกันว่า ทางเลือกไม่ใช่โดยรัฐหรือเอกชน ซึ่งก็คือโดยชุมชน ที่ Ostrom เสนอมานั้น จำเป็นต้องมีกติกาอะไรบ้างจึงจะทำให้กบริหารจัดการทรัพยากรมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
crossing_the_river_1126965

ทำไมการบริหารจัดการ “ทรัพยากรร่วม” จึงล้มเหลว? — รางวัลโนเบลว่าด้วยการจัดการทรัพยากรร่วม ตอนที่ ๑

Elinor Ostrom เจ้าของรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์ปี 2009 เรื่อง “การบริหารจัดการทรัพยากรร่วม” (Common-pool Resources) ได้บอกให้เรารู้ว่า ที่ผ่านมา ทำไมสังคมส่วนใหญ่จึงล้มเหลวในการดูแลทรัพยากรของตน