
Behavioural Economics


“โอกาส” หรือ “ความชอบ” อะไรมีบทบาทมากกว่ากันในการมีใครสักคน?
เวลาที่เราเห็นคนสองคนเป็นแฟนกัน เคยสงสัยไหมว่า เขาคบอยู่กับคนที่ตรงสเป็คตามที่อยากมีตั้งแต่แรก หรือเขาได้มาคบกันเพราะโอกาสที่พบเจอจนถูกใจกัน งานวิจัยของ Belot and Francesconi จะแสดงให้เห็นความไม่สมดุลของอุปสงค์(หรือความต้องการ)และอุปทาน(ความมีอยู่จริง)ของเรื่องนี้
คนเรารู้สึก“เสียใจ”กับเรื่องอะไรบ้าง ก่อนเสียชีวิต?
[เสด-ถะ-สาด].com ขอเสนอบทความจากประสบการณ์ของผู้ที่ดูแลผู้ป่วยในช่วงไม่กี่สัปดาห์สุดท้ายก่อนเสียชีวิต ว่าพวกเขาเหล่านั้นนึกเสียใจกับเรื่องอะไรที่ผ่านมาของชีวิตบ้าง และบทเรียนของพวกเขาเหล่านี้ จะทำให้เรารักและเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตของเราให้ดีขึ้น
“ดอกกุหลาบ” สำคัญแค่ไหนในการจีบกัน?
การให้ของขวัญนับเป็นการส่งสัญญาณให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ได้ว่า เรารู้ใจเขา หรือเขาเป็นคนพิเศษของเรา แล้วเราควรจะเลือกของขวัญอย่างไร จึงจะเพิ่มโอกาสที่จะจีบสาว(หนุ่ม)ติดกัน แล้วราคาล่ะ สำคัญหรือไม่ บทความนี้จะตอบคำถามเหล่านี้ให้เรา
“ความรักอันแสนโรแมนติค” หน้าตาเป็นอย่างไร?
บทความนี้ได้พยายามให้คำนิยามกับความรักอันแสนโรแมนติค และพยายามสร้างดัชนีชี้วัดความรักอันแสนโรแมนติคนั้นขึ้น และเมื่อได้ดัชนีชี้วัดแล้วก็นำไปทดสอบกันในห้องแล็ป ซึ่งผลการทดลองจะมาบอกให้เรารู้ว่า ความรักอันแสนโรแมนติคนั้นมีอยู่จริง และสังเกตกันได้ไม่ยากด้วยสิ
โอกาสเจอ “ใครสักคนที่ใช่” เป็นเท่าไหร่กัน?
Backus ได้ทำการประยุกต์สมการที่ใช้ประเมินจำนวนดวงดาวที่มีโอกาสจะติดต่อกับมนุษย์ได้ มาคำนวณหาโอกาสที่ชีวิตของเราจะได้เจอใครสักคนที่ใช่ แบบที่สามารถสื่อสารกับเราได้พอดี (Perfect Match) และโอกาสที่เราจะได้คบกันกับคนๆ ด้วย แต่สุดท้ายค่าที่ได้ก็ช่างน้อยเสียเหลือเกิน
ทำไมต้อง “กร่าง”?
การแสดงความไม่สุภาพหรือหยาบคายในที่สาธารณะนั้น อาจทำให้หลายคนที่พบเห็นรู้สึกว่าน่ารังเกียจ แต่ในขณะเดียวกัน การกระทำเหล่านั้นก็เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของอำนาจในสายตาของผู้พบเห็นเช่นกัน งานศึกษาชิ้นหนึ่งช่วยยืนยันเรื่องนี้ และทำให้เราเข้าใจว่า เรื่องนี้อาจไม่ใช่เรื่องของแค่คนบางคนเท่านั้น
“ศีลธรรม” สำคัญอย่างไร? (ตอนที่ ๒ – กับสังคมของเรา)
Dan Ariely นักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม จะช่วยให้เรารู้ว่าศีลธรรมของแต่ละบุคคลจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างไร และสืบเนื่องไปยัง Adam Smith ที่จะบอกให้เราเข้าใจว่า ทำไมคุณธรรมของผู้นำจึงควรจะสูงกว่าคนทั่วไป
“ศีลธรรม” สำคัญอย่างไร? (ตอนที่ ๑ – กับตัวเราเอง)
เศรษฐศาสตร์ดูจะห่างเหินจากการนำเอา “ศีลธรรม” เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์ Dan Ariely นักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม จะช่วยให้เรารู้ว่าทั้งโอกาสที่จะถูกจับได้ และผลได้จากการโกงอาจไม่มีผลต่อการตัดสินใจโกงเลยก็เป็นได้
“เสน่หา” มีผลต่อรายได้แค่ไหนกัน? (ตอนที่ ๒ – คนแสนดี)
“เสน่หา” เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของคนส่วนใหญ่ เพราะจะทำให้เราเป็นที่สนใจ ในบทความตอนที่ ๒ นี้เกี่ยวข้องกับ “ความเป็นคนแสนดี” ที่หลายคนพยายามจะเป็นเพื่อให้ได้รับการยอมรับจากคนรอบตัว บทความวิชาการจะบอกว่ามันมีผลอย่างไรกับรายได้ของเรา
“เสน่หา” มีผลต่อรายได้แค่ไหนกัน? (ตอนที่ ๑ – คนสวย/หล่อ)
“เสน่หา” เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของคนส่วนใหญ่ เพราะจะทำให้เราเป็นที่สนใจ ในบทความนี้เกี่ยวข้องกับ “ความสวย/หล่อ” ว่ามันมีข้อดีกับชีวิตเราจริงๆ จนควรให้ความสำคัญกับมัน หรือไม่ต้องไปสนใจเลยจะดีกว่า บทความวิชาการใน AER มีคำตอบให้เรา
“ความคิดดีดี” มาจากไหน?
เรื่องราวเบาๆ ที่ถูกเรียกว่าเป็น “กรณีศึกษาอันยอดเยี่ยม” โดย Steven Johnson ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Where good ideas come from? ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมที่สุดเล่มหนึ่งของโลก นี่คือเรื่องราวความเป็นมาที่น่าทึ่งของนวัตกรรมอันหนึ่ง และมันก็เกิดขึ้นได้ในทางที่เหลือเชื่อเสียด้วย
“การให้ของขวัญ” เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจหรือไม่?
ใกล้เทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่ การให้”ของขวัญ”เป็นพิธีการหนึ่งที่เรานึกถึงและทำกันอยู่เป็นประจำ เทศกาลเหล่านี้จึงเต็มไปด้วยความสุข ความปิติยินดี และรอยยิ้มของผู้คนจำนวนมาก แต่เราเคยนึกหรือไม่ว่า จริงๆ แล้ว การให้ของขวัญก่อให้เกิดผลอย่างไรกับระบบเศรษฐกิจกันแน่?
“ดูหมอ” เป็นสินค้าประเภทไหนกันแน่?
ดูหมอเป็นบริการประเภทหนึ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน ในด้านหนึ่งก็เกี่ยวพันกับสถิติศาสตร์ ในอีกด้านหนึ่งก็คล้ายจิตแพทย์ แต่แท้จริงแล้วบริการดูหมอเป็นสินค้าแบบไหนกันในทางเศรษฐศาสตร์ เราจ่ายกันเท่าไหร่ และรายได้สูงขึ้น เขาจะจ่ายค่าดูหมอเพิ่มขึ้นไหม บทความนี้มีคำตอบ